วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

BMI.









                      ภาษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไป พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลล์เทเลโฟนแลบอลาทอรีส์ (Bell Telephone Laboratories) เกิดขึ้นเพื่อสร้างระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ในขณะนั้น
              นอกจากภาษาซีออกแบบขึ้นมาเพื่อสร้างซอฟ์ตแวร์ระบบแล้ว   ภาษาซียังสามารถใช้อย่างแพร่หลายเพื่อพัฒนาซอฟ์ตระบบประยุกต์ที่เคลื่อนย้าย (portable) ไปบนระบบอื่นได้อีกด้วยการเขียนโปรแกรมระบบเป็นการใช้งานหลักของภาษาซี    ภาษาซีใช้ ข้อความสั่ง (statement) ในการระบุการกระทำเช่นเดียวกับภาษาเชิงคำสั่งอื่น ข้อความสั่งที่สามัญที่สุดคือ ข้อความสั่งนิพจน์ (expression statement) ซึ่งประกอบด้วยนิพจน์ที่จะถูกนำไปประเมินค่า ตามด้วยอัฒภาค ; จากผลข้างเคียงของการประเมินค่า ฟังก์ชันหลายฟังก์ชันอาจถูกเรียกใช้และตัวแปรหลายตัวอาจถูกกำหนดค่าใหม่ ภาษาซีได้เตรียมข้อความสั่งสำหรับควบคุมการไหลของโปรแกรมไว้หลายข้อความซึ่ง ดูได้จากคำสงวนต่าง ๆ เช่น การใช้ if-else เพื่อการทำงานแบบมีเงื่อนไข และการใช้ do-while, while และ for เพื่อการทำงานแบบวนรอบ
               ดัชนีมวลกาย ( Body mass index ; คำย่อ BMI) เป็นค่าดัชนีที่คำนวณจากน้ำหนักและส่วนสูง เพื่อใช้เปรียบเทียบความสมดุลระหว่างน้ำหนักตัว ต่อความสูงของมนุษย์ ซึ่งคิดค้นโดย Adolphe Quetelet ชาวเบลเยี่ยม ค่าดัชนีมวลกายหาได้โดยนำน้ำหนักตัวหารด้วยกำลังสองของส่วนสูงตนเอง
               กลุ่มของข้าพเจ้าได้นำความรู้ในเรื่องภาษาซีมาประยุกต์ใช้ในการคำนวณหาค่า  BMI โดยในการทำโปรแกรมในครั้งนี้ใช้ความรู้ในเรื่อง การรับค่าตัวแปร  การประกาศตัวแปร
การแสดงผล   และชุดคำสั่งเงื่อไข 
(if,else) ในการทำโปรแกรมในครั้งนี้  เพื่อความสะดวกในการหาค่า  BMI ตลอดจนทราบผลของร่างกาย  ว่าเราอยู่ในเกณฑ์ใด  เพื่อการปรับปรุงแก้ไขน้ำหนัก , ส่วนสูง ของตนเองได้












                ปัจจุบันคนส่วนใหญ่จะไม่ให้ความสำคัญและไม่สนใจในเกณฑ์ค่าดัชนีมวลกายของตน และส่วนสูงของตนเองหลายคนจึงรับประทานอาหารอย่างไม่จำกัด อาจจะด้วยสภาพแวดล้อมเพื่อนฝูง  ครอบครัว  หรือตนเอง  และการไม่รู้จักควบคุมปริมาณอาหารนั้นส่งผลให้คนมีน้ำหนักเกิน  เมื่อมีน้ำหนักไม่สมดุลกับส่วนสูงแล้ว  โรคต่างๆก็จะตามมา เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคน้ำตาลในเลือดสูง โรคความดัน เป็นต้น  ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตของคนจำนวนไม่น้อยในแต่ละปี  คณะผู้จดทำจึงได้คิดโปรแกรมการคำนวณดัชนีมวลกาย หรือ (BMI)  เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับผู้ที่ใส่ใจสุขภาพ  โปรแกรมนี้จะคำนวณค่าดัชนีมวลกาย ระหว่างส่วนสูงและน้ำหนักเพื่อบอกว่าส่วนสูงและน้ำหนักของคนแต่ละคนเป็นอย่างไร  โดยแบ่งระดับเป็นผอม สมส่วน เริ่มอ้วน อ้วนระดับหนึ่ง อ้วนระดับสอง อ้วนมากๆ เพื่อให้คนที่ใช้งานได้ทราบระดับตนเอง  และควบคุมการรับประทานอาหารและออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง












ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
       1. การประกาศตัวแปร
     2.1 คำสั่งเงื่อนไข If-else
      เป็นคำสั่งที่ใช้ทางเลือกให้โปรแกรมตัดสินใจเลือกทางใดทางนึ่ง(จากทางเลือกมากกว่า2ทาง) แต่ทางเลือกต้องมีเงื่อนไข โดยโปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขแต่ละทางเลือกหากพบว่าจริงก็จะเดินทางนั้น โดยที่ไม่นำตัวเลือก2,3,4มาตรวจอีกในกรณีมันไม่จริง(เป็นเท็จ) ให้โปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไขต่อไป แต่เป็นเท็จทั้งหมด ให้โปรแกรมเดินตามคำสั่ง else
      2.2 คำสั่งเงื่อนไข If-else
      เป็นคำสั่งที่ใช้ทางเลือกให้โปรแกรมตัดสินใจเลือกทางใดทางนึ่ง(จากทางเลือกมากกว่า2ทาง) แต่ทางเลือกต้องมีเงื่อนไข โดยโปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขแต่ละทางเลือกหากพบว่าจริงก็จะเดินทางนั้น โดยที่ไม่นำตัวเลือก2,3,4มาตรวจอีกในกรณีมันไม่จริง(เป็นเท็จ) ให้โปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไขต่อไป แต่เป็นเท็จทั้งหมด ให้โปรแกรมเดินตามคำสั่ง else
     3. การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
     คำสั่ง scanf() ในภาษาซี การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชัน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม ( int ) , ทศนิยม ( float ) ,อักขระ ( char ) หรือข้อความก็ตาม รูปแบบการเรียกใช้คำสั่ง scanf() คล้ายกับการเรียกใช้คำสั่ง printf()
     4. การแสดงผลออกมาทางจอภาพ
     คำสั่ง printf ถือว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอ ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม( int ) , ทศนิยม ( float ) , ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คำสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามาถกำหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย










(Input output)


input              
              float
              int 
                 

out put

              Find BMI

              Please enter Hight(cm.)

              Please enter Weight(kg.)

              BMI score

              You are very fat
              You are  fat level 2
              You are  fat level 1
              You are many fat
              You are nomal
              You are thin
              Error please any key to exit program




(Flowchart)























 Input และ Output ของโปรแกรมที่ได้



input              
              float
   
out put
              Find BMI
              Please enter Hight(cm.)
              Please enter Weight(kg.)
              BMI score
              You are very fat
              You are  fat level 2
              You are  fat level 1
              You are many fat
              You are nomal
              You are thin
              Error please any key to exit program





     1. ทำให้ทราบค่าดัชนีมวลกาย
     2. เพิ่มความสะดวกในการหาค่าดัชนีมวลกาย
     3. ประเมินหาส่วนไขมันในร่างกาย
     4. เพื่อดูน้ำหนักตัวว่าอยู่ในเกณฑ์เหมาะสมหรือไม่
     5. ลดการยุ่งยากในการวัดเกณฑ์ความเหมาะสมของร่างกาย








     1. ได้นำความรู้ที่ได้รับในห้องเรียนมาใช้ในการสร้างโปรแกรม
2. ได้เรียนรู้การทำบล๊อคเกอร์ซึ่งสมาชิกในกลุ่มไม่เคยทำมาก่อน
3. ได้เรียนรู้การทำ flowchart
4. ได้ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
5. เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
6. สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการศึกษาในระดับสูงต่อไปในอนาคต

7. ทำให้ได้นำความรู้ในการวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
8. ทำให้รู้ว่าตนเองมีสภาพร่างกายอยู่อย่างไร






สมาชิกในกลุ่ม


1.นางสาวกฤติกร  นวลปานเลขที่ 1 ม.403




          ดิฉันคิดว่าจากการทำโครงงานเรื่องนี้ ทำให้ฉันได้รับความรู้มากมายจากการใช้โปรแกรม Dev-C++ และยังได้มีการนำความรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษามาประยุกต์ใช้ ซึ่งเป็นจุดประสงค์หลักของโรงเรียนนี้ ที่ต้องการให้นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์และนำสิ่งที่เรียนมานั้น ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ^______________________^


 2.นางสาวกฤษณา  ลักษณา  เลขที่ 2 ม.403



            ทำให้หนูได้หัดทำเว็บบล็อค ซึ่งก่อนหน้านี้นั้น หนูไม่เคยทำจึงใช้ไม่เป็น แต่พอมาหัดทำจริง ๆ ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด ไม่ยากเกินความสามารถหากเราพยายามค่ะ :)


3.นางสาวจิตรลดา  เจริญลาภ  เลขที่ 4  ม.403



              จากการทำงานนี้ ทำให้เกิดความสามัคคี การทำงานเป็นกลุ่มที่ต้องปประสานงานกัน ซึ่งทำให้เราได้รู้จัก และสนิทสนมกับคนอื่น ๆ มากขึ้น


4.นางสาวนูรอยฮัน  อะอูน  เลขที่ 13  ม.403


               ก่อนอื่นหนูต้องขอบคุณสำหรับคำถามที่อาจารย์ให้มานะค่ะ หนูคิดว่าเป็นคำถามที่ดีมากและเหมาะสมด้วยค่ะ ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกการทำงานร่วมกันคนอื่นค่ะ >/////////<


5. นายจิรายุส  มุณีพรหม  เลขที่ 21  ม.403


         ผมคิดว่า จากการที่ผมได้ทำโครงงานเรื่องนี้ทำให้ผมได้รู้ถึงวิธีการสร้างblogger และตกแต่งblogger ซึ่งจากการที่กลุ่มผมเลือกทำเรื่องนี้ เพราะเรื่องนี้มีความเหมาะสมสำหรับคนในปัจจุบัน ซึ่งคนที่ไม่ค่อยรู้เรื่องสุขภาพว่าตนเองอยู่ในสภาพอย่างไร


6.นายธีรศักดิ์ ทิพย์รัตน์เเก้ว  เลขที่ 23 ม.403





 ดิเดี๊ยนคิดว่านะครับ การอยุ่กลุ่มกับผู้หญิงและหัวหน้า เป็นการดีมาก เพราะทุกคนทำงานกันอย่างเต็มที่ ตรงไหนที่สามารถช่วยได้หรือให้คำปรึกษาได้ ผมก็จะช่วยอย่างสุดความสามารถครับ "รักเพื่อนกลุ่มนี้ที่สุดเลย ^____________^"






โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
Princess Chulabhorn's College , Nakhon Si Thammarat
โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
Chulabhorn  Science High School
www.pccnst.ac.th

อาจารย์ที่ปรึกษา


จิรัฎฐ์  พงษ์ทองเมือง
iam.geradt@gmail.com



























































2 ความคิดเห็น:

  1. ... ว้าวววว เยี่ยมมเบยยย น่ารั๊กอ้ะ >< คิกคิก

    ตอบลบ
  2. ขนาดเราเดกคอมแท้ยังทำไม่ได้เหมือนเทอเลยอ่ะ

    ตอบลบ