ภาษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไป
พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลล์เทเลโฟนแลบอลาทอรีส์ (Bell Telephone Laboratories) เกิดขึ้นเพื่อสร้างระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ในขณะนั้น
นอกจากภาษาซีออกแบบขึ้นมาเพื่อสร้างซอฟ์ตแวร์ระบบแล้ว ภาษาซียังสามารถใช้อย่างแพร่หลายเพื่อพัฒนาซอฟ์ตระบบประยุกต์ที่เคลื่อนย้าย
(portable) ไปบนระบบอื่นได้อีกด้วยการเขียนโปรแกรมระบบเป็นการใช้งานหลักของภาษาซี ภาษาซีใช้ ข้อความสั่ง
(statement) ในการระบุการกระทำเช่นเดียวกับภาษาเชิงคำสั่งอื่น
ข้อความสั่งที่สามัญที่สุดคือ ข้อความสั่งนิพจน์ (expression
statement) ซึ่งประกอบด้วยนิพจน์ที่จะถูกนำไปประเมินค่า
ตามด้วยอัฒภาค ;
จากผลข้างเคียงของการประเมินค่า ฟังก์ชันหลายฟังก์ชันอาจถูกเรียกใช้และตัวแปรหลายตัวอาจถูกกำหนดค่าใหม่
ภาษาซีได้เตรียมข้อความสั่งสำหรับควบคุมการไหลของโปรแกรมไว้หลายข้อความซึ่ง ดูได้จากคำสงวนต่าง
ๆ เช่น การใช้ if
-else
เพื่อการทำงานแบบมีเงื่อนไข และการใช้ do
-while
,
while
และ for
เพื่อการทำงานแบบวนรอบ
ดัชนีมวลกาย ( Body mass index ; คำย่อ BMI) เป็นค่าดัชนีที่คำนวณจากน้ำหนักและส่วนสูง
เพื่อใช้เปรียบเทียบความสมดุลระหว่างน้ำหนักตัว ต่อความสูงของมนุษย์ ซึ่งคิดค้นโดย
Adolphe Quetelet ชาวเบลเยี่ยม ค่าดัชนีมวลกายหาได้โดยนำน้ำหนักตัวหารด้วยกำลังสองของส่วนสูงตนเอง
กลุ่มของข้าพเจ้าได้นำความรู้ในเรื่องภาษาซีมาประยุกต์ใช้ในการคำนวณหาค่า BMI โดยในการทำโปรแกรมในครั้งนี้ใช้ความรู้ในเรื่อง
การรับค่าตัวแปร การประกาศตัวแปร
การแสดงผล
และชุดคำสั่งเงื่อไข (if,else)
ในการทำโปรแกรมในครั้งนี้
เพื่อความสะดวกในการหาค่า BMI
ตลอดจนทราบผลของร่างกาย
ว่าเราอยู่ในเกณฑ์ใด
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขน้ำหนัก , ส่วนสูง ของตนเองได้
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1. การประกาศตัวแปร2.1 คำสั่งเงื่อนไข If-else
เป็นคำสั่งที่ใช้ทางเลือกให้โปรแกรมตัดสินใจเลือกทางใดทางนึ่ง(จากทางเลือกมากกว่า2ทาง) แต่ทางเลือกต้องมีเงื่อนไข โดยโปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขแต่ละทางเลือกหากพบว่าจริงก็จะเดินทางนั้น โดยที่ไม่นำตัวเลือก2,3,4มาตรวจอีกในกรณีมันไม่จริง(เป็นเท็จ) ให้โปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไขต่อไป แต่เป็นเท็จทั้งหมด ให้โปรแกรมเดินตามคำสั่ง else
2.2 คำสั่งเงื่อนไข If-else
เป็นคำสั่งที่ใช้ทางเลือกให้โปรแกรมตัดสินใจเลือกทางใดทางนึ่ง(จากทางเลือกมากกว่า2ทาง) แต่ทางเลือกต้องมีเงื่อนไข โดยโปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขแต่ละทางเลือกหากพบว่าจริงก็จะเดินทางนั้น โดยที่ไม่นำตัวเลือก2,3,4มาตรวจอีกในกรณีมันไม่จริง(เป็นเท็จ) ให้โปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไขต่อไป แต่เป็นเท็จทั้งหมด ให้โปรแกรมเดินตามคำสั่ง else
3. การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คำสั่ง scanf() ในภาษาซี การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชัน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม ( int ) , ทศนิยม ( float ) ,อักขระ ( char ) หรือข้อความก็ตาม รูปแบบการเรียกใช้คำสั่ง scanf() คล้ายกับการเรียกใช้คำสั่ง printf()
4. การแสดงผลออกมาทางจอภาพ
คำสั่ง printf ถือว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอ ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม( int ) , ทศนิยม ( float ) , ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คำสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามาถกำหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย
(Input output)
input
float
int
int
out
put
Find
BMI
Please
enter Weight(kg.)
BMI
score
You
are very fat
You
are fat level 2
You
are fat level 1
You
are many fat
You
are nomal
You
are thin
Error
please any key to exit program
(Flowchart)
Input และ Output ของโปรแกรมที่ได้
input
float
out put
Find BMI
Please enter Hight(cm.)
Please enter Weight(kg.)
BMI score
You are very fat
You are fat level 2
You are fat level 1
You are many fat
You are nomal
You are thin
Error please any key to exit program
1. ได้นำความรู้ที่ได้รับในห้องเรียนมาใช้ในการสร้างโปรแกรม
2. ได้เรียนรู้การทำบล๊อคเกอร์ซึ่งสมาชิกในกลุ่มไม่เคยทำมาก่อน
3. ได้เรียนรู้การทำ flowchart
4. ได้ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
5. เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
6. สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการศึกษาในระดับสูงต่อไปในอนาคต
7. ทำให้ได้นำความรู้ในการวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
8. ทำให้รู้ว่าตนเองมีสภาพร่างกายอยู่อย่างไร
2. ได้เรียนรู้การทำบล๊อคเกอร์ซึ่งสมาชิกในกลุ่มไม่เคยทำมาก่อน
3. ได้เรียนรู้การทำ flowchart
4. ได้ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
5. เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
6. สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการศึกษาในระดับสูงต่อไปในอนาคต
7. ทำให้ได้นำความรู้ในการวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
8. ทำให้รู้ว่าตนเองมีสภาพร่างกายอยู่อย่างไร
สมาชิกในกลุ่ม
ดิฉันคิดว่าจากการทำโครงงานเรื่องนี้ ทำให้ฉันได้รับความรู้มากมายจากการใช้โปรแกรม Dev-C++ และยังได้มีการนำความรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษามาประยุกต์ใช้ ซึ่งเป็นจุดประสงค์หลักของโรงเรียนนี้ ที่ต้องการให้นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์และนำสิ่งที่เรียนมานั้น ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ^______________________^
2.นางสาวกฤษณา ลักษณา เลขที่ 2 ม.403
ทำให้หนูได้หัดทำเว็บบล็อค ซึ่งก่อนหน้านี้นั้น หนูไม่เคยทำจึงใช้ไม่เป็น แต่พอมาหัดทำจริง ๆ ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด ไม่ยากเกินความสามารถหากเราพยายามค่ะ :)
3.นางสาวจิตรลดา เจริญลาภ เลขที่ 4 ม.403
4.นางสาวนูรอยฮัน อะอูน เลขที่ 13 ม.403
ก่อนอื่นหนูต้องขอบคุณสำหรับคำถามที่อาจารย์ให้มานะค่ะ หนูคิดว่าเป็นคำถามที่ดีมากและเหมาะสมด้วยค่ะ ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกการทำงานร่วมกันคนอื่นค่ะ >/////////<
5. นายจิรายุส มุณีพรหม เลขที่ 21 ม.403
ผมคิดว่า จากการที่ผมได้ทำโครงงานเรื่องนี้ทำให้ผมได้รู้ถึงวิธีการสร้างblogger และตกแต่งblogger ซึ่งจากการที่กลุ่มผมเลือกทำเรื่องนี้ เพราะเรื่องนี้มีความเหมาะสมสำหรับคนในปัจจุบัน ซึ่งคนที่ไม่ค่อยรู้เรื่องสุขภาพว่าตนเองอยู่ในสภาพอย่างไร
6.นายธีรศักดิ์ ทิพย์รัตน์เเก้ว เลขที่ 23 ม.403
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
Princess Chulabhorn's College , Nakhon Si Thammarat
โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
Chulabhorn Science High School
www.pccnst.ac.th
อาจารย์ที่ปรึกษา
จิรัฎฐ์ พงษ์ทองเมือง
iam.geradt@gmail.com
Princess Chulabhorn's College , Nakhon Si Thammarat
โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
Chulabhorn Science High School
www.pccnst.ac.th
อาจารย์ที่ปรึกษา
จิรัฎฐ์ พงษ์ทองเมือง
iam.geradt@gmail.com